วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ถ้าไม่ได้โผล่ หนวดกุ้งไว้จะเป็นไรป่าวครับ แล้วจะแก้อย่างไรได้บ้างครับ

ถ้าไม่ได้โผล่ หนวดกุ้งไว้จะเป็นไรป่าวครับ แล้วจะแก้อย่างไรได้บ้างครับ

0.ข้อควรระวังคือ เสาต่อม่อนั้น เป็นจุดอ่อนของอาคารที่ทำให้เกิดการทรุดตัว ปัจจุบันวิศวกรผู้ออกแบบมักจะหลีกเลี่ยงไม่ใช่เสาต่อม่อ แต่หากจำเป็นต้องมีเครื่องมือช่าง ควรขยายขนาดเสาต่อม่อ เพิ่มเหล็กแล้วใช้วิธีดุ้งเหล็กเพื่อลดขนาดเสาของชั้นที่ 1 ระหว่างเทคอนกรีตต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า ไม่มีเศษดิน เศษทรายหรือสิ่งสกปรกอยู่ในต่อม่อ อุดไม้แบบด้วยน้ำปูนมอร์ต้า 1 ถังเพื่อป้องกันน้ำในคอนกรีตไหลออก ทำให้โคนเสาต่อม่อเป็นรูพรุน อันเป็นสาเหตุของเหล็กเสาเป็นสนิม และเป็นต้นเหตุให้เสาระเบิดเนื้องจากสนิมขยายตัว ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กสำหรับ โครงสร้างส่วนที่อยู่ในดินเพื่อป้องกันไม่ให้เหล็กเป็นสนิมต้องไม่น้อยกว่า 5 ซม.

1.ส่วนใหญ่แบบจะระบุโผล่ dowel ไว้ ขนาดเหล็กแล้วแต่ระบุ (ขนาด 12-16 มม.) ถ้าเป็นเหล็กลวดอัดแรงในเสาเข็ม จะมีหรือไม่มีก็ได้

2.สำคัญมาก เวลาอาคารรับแรงปั๊มลมด้านข้าง หรือ ฐานรากฐานหนึ่งฐานใดทรุด ฐานที่เหลือจะไม่สามาถดังแรงถอนได้

3.กล่าวคือ ฐานรากหลุดออกจากหัวเข็ม เพราะระยะอมหัวเข็มเพียง 5 ซม.ส่วนใหญ่วิศวกรออกแบบให้อมเสาเข็มเพียง 5 ซม.

4.แล้วแต่การออกแบบ และ การรับแรงกดจากน้ำหนักเสา ที่ไม่เกิดโมเมนต์ขึ้นที่บริเวณต่อม่อครับ ถ้าไม่มีสว่านไฟฟ้าเท่ากับฐานรากตัวนี้แข้งและกระจายแรงกดไปที่เสาเข็มเท่าๆกันครับ

5. ถ้าจะทรุดขึ้นมาจริงๆ ลวดอัดแรงแค่ 6 มม.
มันเอาไม่อยู่หรอกครับ คนออกแบบถ้าออกแบบรับเรื่องทรุด และรับแรงเลื่อยวงเดือนถอนไว้ เค้าจะระบุในสเปกเสาเข็มว่าให้มี dowel bar เข้าไปด้วย
ยาวกี่เมตรก็แล้วแต่กำหนด ที่ทำๆกันมาโดยเหลือลวดอัดแรงไว้เนี่ย
แค่ทำตามกันมารึเปล่า เพราะลวดอัดแรง แทบไม่มีแรงยึดเหนี่ยวอะไรได้เลย ถึงแม้จะพับราบไปกับตะแกรงฐานรากก็เถอะ



6. เหล็กโดเวลในหัวเสาเข็มนั้น ทำหน้าที่อย่างเดียวคือกันเวลาฐานรากมันพลิก ไม่ให้ฐานรากมันถอนจากเสาเข็มครับ ส่วนใหญ่ฐานรากหลายๆฐานจะทำงานร่วมกัน กรณีเสาเข็มตอกหากมีเสาเข็มต้นใด้ต้นหนึ่งหักและไม่ได้มีการตรวจสอบโบเคารท์ และไม่มีการตอกเสริม จะมีโอกาศที่เสาเข็มของฐานรากฐานนั้นทรุดตัวแต่จะไม่มีปัญหามาก หากฐานรากต้นอื่นยังคงสามารถป้องกันแรงถอนได้

7. ในเสาเข็มอัดแรง 1 ต้นจะมีลวดรับแรงดึงพิเศษ ที่มีความสามาารถรับแรงได้สูงกว่าเหล็กรูปพรรณทั่วไปมากกว่า6-8 เส้นต่อ 1 ต้น ใน 1 ฐานราก อาจมีเสาเข็มมากว่า 4 ต้น เมื่อนำลวดของทุกต้นเข้ามาอยู่ในเหล็กเสริมฐานรากแล้ว ย่อมต้องรับแรงได้ดีกว่า

8.ถ้าเป็นงานฐานรากสำหรับอาคารควรมีปั๊มน้ำนะครับ น่าจะตัดไพล์คัทออฟลงไปให้ได้เหล็กแกนเสาเข็มมาใช้งาน ต่อทาบให้ได้ระระยะและระดับที่ต้องการใช้ตามแบบ แล้วเทหล่อด้วยคอนกรีตstrength ตามสเปคเดียวกับของเสาเข็มนั้นๆ ตัวที่หลุดไปก็แก้ปัญหาแบบนี้ได้ ส่วนตัวที่ยังไม่ตัดแบบนี้ให้ประชุมกับผรม.ทำความเข้าใจกับแบบก่อสร้างเสียใหม่ จะได้ไม่เสียแบบนี้เพิ่ม ปล. จะแก้อย่างไรให้ผ่านการเห็นชอบจากวิศกรเสียก่อนนะครับ

9.กรณีเกิดแผ่นดินไหว หรือดินโคล่นถล่ม เนื่องจากฝนตกหนัก เสาเข็มต้องสามารถรับแรงดึงได้ทั้งนั้นครับ ภาวะปกติเสาเข็มรับแต่แรงอัดที่เป็น นน.กดลงมา แต่เข็มที่ตอกลงไปในชั้นดินนั้นยังจะมีค่าแรงยึดเหนี่ยว ที่เราเรียกว่า ฟิ๊กชั่น กรณีมีการสั่นไหวมีแรงที่กระทำด้านข้าง อาคารที่ดีฐานรากและเสาเข็มต้องสามารถรับแรงดึงได้ครับ

10.ดูจากรูป ตอนสั่งเสาเข็ม คง ไม่ได้แจ้งผู้ผลิตเสาเข็ม ทำเหล็ก Dowel ไว้แน่ๆ อย่างน้อย ต้องเป็น เหล็ก 12 มม. ผู้ผลิตเขาจะฝังไว้ช่วงหัวเสาเข็ม ถ้าไม่แจ้งเขาก็มีแต่เหล็กเป็น 4 มม. พอช่าง ตัดเสาเข็ม ความลึก ของใบตัด จะตัดเหล็ก 4 มม.ขาดไปด้วย งานนี้แก้ ด้วยการเจาะ เสียบเหล็ก ใส่ อีพ็อกซี่ ครับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น